บทที่ 2



บทที่ 2
ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
        จากการศึกษาวิชาโครงการในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้จัดทาเรื่อง ระบบบริหารจัดการห้องสมุด โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) กรณีศึกษาห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพชุมแพ  

2.1 ประวัติวิทยาลัยการอาชีพชุมแพ
          ตามแผงพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งประเทศชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539) กรมอาชีวะศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้เห็นชอบที่จะให้ทีการจัดตั้งวิทยาลัยการอชีพชุมแพขึ้น ในเขตพื้นที่อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นการกระจายโอกาสทางด้านการศึกษาทางด้านวิชาชีพออกไปให้ทั่วถึงโดยเฉพาอย่างยิ่งในเขตชุมชนใหญ่ที่มีประชาการหนาแน่น มีคามเจริญและขยายตัวทางเศรษฐกิจอัตราที่สูง ซึ่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเร็วเช่นนี้ ทำให้ภาวะความต้องการแรงงานอย่างมากมาย หลายระดับกรมอาชีวะศึกษาซึ่งมีสถานศึกษาที่ผลิตแรงงานเหล่านี้อยู่ทั่วประเทศส่วนใหญ่จะมีที่ตั้งอยู่ในตัวจังหวัดไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผุ้เรียนได้อย่างทั่วถึง เพราะมีเยาวชนและประชาชนอีกจำนวนมากที่ไม่มีโอกาสได้เข้าเรียนหรือเข้าฝึกด้านวิชาชีพ เพราะเหจุแงความจำกัดของสถานที่เรียนและฝึกงานและการเดินทางเข้าไปเรียนในตัวจังหวัด
          ด้วยเหตุนี้แห่งความจำกัดดังกล่าวข้างต้น กระทรวงศึกษาธิการ โดยดำริของ ฯพณฯ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น เห็นสมควรให้มีการจัดตั้งสถานศึกษาทางด้านอาชีวศึกษาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 กองการศึกษาอาชีพ กรมอาชีวศึกษา ได้มอบหมายให้วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ดำเนินการจัดหาที่ดิน เพื่อจัดตั้งวิทยาลัยการอาชุมแพ ซึ่งวิทยาลัยการอาชีพขอนแก่นได้มอบหมายให้นายประเสริฐ์ จันฤาไชย ตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ตำแหน่งขณะนั้น ได้ประสานงานและดำเนินการจัดหาที่ดินจัดตั้งวิทยาลัยฯ โดยได้รับความร่วมมือจากนายอำเภอชุมแพ (นายประจัญ ชนะโชค) นายกเทศบาลตำบลชุมแพ (นายสมเกียรติ ดีบุญมี ณ ชุมแพ) ศึกษาธิการอำเภอชุมแพ (นายจำปา เดชสิงหรัตน์) และผู้ช่วยศึกษาธิการอำเภอชุมแพ (นายทองลา เสนาฤทธิ์) ประสานงานจนได้ที่ตั้งบริเวณบ้านโนนลานสวัสดิ์ในพื้นที่ 26 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 217 หมู่14 ตำบลหนองไผ่ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โดยใช้ชื่อว่า วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ
          วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ ได้รับประกาศจัดตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ  เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2536 ละได้รับงบประมาณก่อสร้าง 2538 และได้งบประมาณก่อสร้าง 23,998,000 บาท และเริ่มดำเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2538 เริ่มรับนักเรียนครั้งแรก ในปีการศึกษา 2538 รวม สาขาวิชา คือ ช่างไฟฟ้ากำลัง ช่างอิเล็กทรอนิกส์ และบัญชี จำนวน 124 คน และเปิดดำเนินการอนจนถึงปัจจุบัน

2.1.1กฏเกณฑ์ทางธุรกิจ
            1.       ผู้ที่ต้องการสมัครสาชิก ต้องเป็นนิสิตนักศึกษาหรือบุคคลากรที่อยู่ใน วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ เท่านั่น
            2.       การจองหนังสือ ต้องเป็นสมาชิกก่อนจึงจะทำการจองได้
              2.1.    การจองหนังสือแต่ละครั้ง จะมีอายุการจองทั้งหมด 15 วัน หากสมาชิกที่ทำการจองไว้  ไม่มารับหนังสือตามที่กำหนดจะถือว่าสละสิทธิการจอง
            3.       การยืมหนังสือ จะต้องเป็นสมาชิกกับทางห้งสมุดเท่านั่นจึงจะทำการยืมหนังสือได้
             3.1.    นักศึกษายืมได้ไม่เกิน 3 รายการ/1 สัปดาห์ ถ้าเกินกำหนดจะถูกปรับวันละ 3 บาทต่อรายการ กรณีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกันสามารถยืมติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 ครั้ง
            3.2.    อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยฯ ยืมหนังสือประกอบการเรียนการสอนได้ 5 รายการ 1ภาคเรียน และหนังสืออื่นๆ 5รายการ สัปดาห์ ถ้าเกินกำหนดปรับวันละ 5 บาท/1 เล่ม
          4.       การคืนจะทำการตรวจสอบจากการยืมหนังสือทุกครั้งก่อนทำการยืม
      4.1.1. อัตราค่าปรับถ้าเกินกำหนดปรับวันละ 5 บาท/1 เล่ม
      4.1.2. อัตราค่าปรับหนังสือชำรุดปรับตามราคาราคาปัจจุบันของหนังสือ
หากทำหนังสือหายให้หาหนังสือเรื่องเดียวกันมาทดแทนหรือชดเชยเป็นเงินตามราคาปัจจุบันของหนังสือ
การใช้ห้องสมุด ระเบียบข้อบังคับการใช้ห้องสมุด วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ
เวลาเปิดบริการ
          วันจันทร์  วันศุกร์  ตั้งแต่เวลา 07.30 – 19.00 น.
2.2 ระเบียบการยืม – การส่ง – การปรับ
-  ผู้ที่มีสิทธิ์ยืมหนังสือได้แก่ คณะครู อาจารย์ นักศึกษาเจ้าหน้าที่ นักการภารโรง
-  หนังสือที่ยืมออกนอกห้องสมุด ได้แก่ หนังสือทั่วไป แบบเรียน จุลสาร หนังสือที่ไม่ให้ออกนอกห้องสมุดได้แก่ หนังสืออ้างอิง วารสารเย็บเล่ม หนังสือพิมพ์ แต่ถ้ามีความจำเป็นให้ยืมไปถ่านะอกสารได้
-   สมาชิกคนอื่นจะยืมหนังสือแทนกันไม่ได้ นอนจากส่งหนังสือเท่านั้นที่แทนกันได้
-   สำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยฯ ยืมหนังสือประกอบการเรียนการสอนได้ 5 รายการ 1ภาคเรียน และหนังสืออื่นๆ 5รายการ สัปดาห์ ถ้าเกินกำหนดปรับวันละ 5 บาท/1 เล่ม และเมื่อมีหนังสือทวงถามเพื่อตรวจสอบสภาพประจำภาเรียน หากไม่ส่งตามกำหนดให้ฝ่ายการเงินหักเงินเดือนของบุคลกรผู้นั้น เพื่อชดเชยใช้ตามราคาปัจจุบันของหนังสือ
    ในกรณีที่อาจารย์ หรือเจ้าหน้าที่วิทยาลัยฯ ทำหนังสือหาย แผนกห้องสมุดจะให้ฝ่ายการเงินหักเงินเดือนของบุคคลผู้นั้น เพื่อชดเชยตามราคาปัจจุบันของหนังสือ
5.1   สำหรับนักศึกษายืมได้ไม่เกิน 3 รายการ/1 สัปดาห์ ถ้าเกินกำหนดจะถูกปรับวันละ 3 บาทต่อรายการ
5.2   ในกรณีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกันสามารถยืมติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 ครั้ง
5.3   ในกรณีนักศึกษาทำหนังสือหายให้หาหนังสือเรื่องเดียวกันมาทดแทนหรือชดเชยเป็นเงินตามราคาปัจจุบันของหนังสือ
2.3 ข้อปฏิบัติการใช้ห้องสมุด
 แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
-  ห้ามนำอาหาร กระเป๋า เครื่องดื่ม เข้าไปในห้องสมุด
-  ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณห้องอ่านหนังสือ
-   การตัดฉีกหนังสือวารสาร ของห้องสมุด ผู้กระทำผิดจะได้รับการงโทษตามระเบียบ
-  กรณีบัตรหายแล้วทำบัตรใหม่จะต้องเสียค่าปรับคนละ 10 บาท พร้อมรูปใหม่ 1 ใบ
-   ห้ามนำบัตรห้องสมุด ที่ไม่ใช้ของตนเองมายืมหนังสือ
-  ผู้ใดอยู่บริเวณห้องสมุดต้องสำรวมกิริยาวาจา ไม่ส่งเสียงดัง และปฎิบัติตนมิให้เป็นการรบกวนผู้อื่น
-   ผู้ใช้ห้องสมุดจะต้องไม่นำหนังสือออกจากห้องสมุดโดยมิได้ยืมตามระเบียบ
-  งดใช้เครื่องสื่อสารทุกชนิดภายในห้องสมุด
  10.   ผู้ใดที่ฝ่าฝืนระเบียบหรือไม่ปฏิบัติตาม ห้องสมุดจะดำเนินการตามดังนี้
10.1 ว่ากล่าวตักเตือนด้วยวาจา
10.2 บันทึกเป็นหลักฐานเมื่อได้รับการตักเตือนแล้ว 3 ครั้ง
10.3 ตัดสิทธิ์การยืม 1 ภาคเรียน เมื่อถูกตัด 3 ครั้ง และแจ้งอาจานที่ปรึกษา
10.4 การนำหนังสือ วารสาร ออกจากห้องสมุดโดยไม่ได้ยืม รวมทั้งการตัด ฉีก ทำลาย เป็นการทำลายทรัพย์สินของทางราชการ มีโทษให้ปรับ 20 เท่าของราคา


2.3 วิธีการค้นหาหนังสืออย่างง่ายๆ
          การจัดหนังสือของห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพชุมแพ ได้จัดแบบสากลทศนิยมของดิวอี้และเพื่อสะดวกต่อการค้นคว้ายังได้แยกแบ่งตามแผนกต่างๆ ดังนี้
000        หนังสือประเภท        เบ็ดเตล็ด                  
100              “        ปรัญญา
200              “        ศาสนา
300              “        สังคมศาสตร์
400              “        ภาษาศาสตร์
500              “        วิทยาศาสตร์    
600              “        วิทยาศาสตร์ประยุกต์
700              “        ศิลปะและการบันเทิง
800              “        วรรณคดี
900              “        ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์
อ.                 “        อ้างอิง
R                  “        อ้างอิง
น                 “        นวนิยาย
Fic                “        นวนิยาย
รส.                “        เรื่องสั้น

โดยได้นำหลักตามแนวคิดของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey)
แนวคิดของนักปรัชญาพวกประสบการณ์นิยม (Experimentalism) ซึ่งมีจอห์น ดิวอี้ เป็นผู้นำนักปราชญ์ผู้นี้มีความเชื่อว่าความอยู่รอดของสรรพสัตว์ (ซึ่งหมายถึงมนุษย์ด้วยนั้น) ย่อมขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ ความเชื่อนี้ได้มาจากชาร์ลส์ ดาวิน (Charles Darwin) เจ้าของทฤษฏีวิวัฒนาการซึ่งให้หลักไว้ว่าผู้ที่เหมาะสมที่สุดจะอยู่รอด (The Survival of the Fittest) ส่วนผู้ที่ไม่เหมาะสม ย่อมจะล้มหายตายจากไป จากความเป็นจริงข้อนี้ จอห์น ดิวอี้ จึงได้ยึดเอาเรื่อง การปรับตัว” ให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมเป็นสรณะสำคัญ หรือเป็นแก่นแห่งการศึกษา จากแนวคิดเรื่องการปรับตัวนี้เอง จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) จึงเห็นค่ามนุษย์ย่อมมีปัญหาอยู่ตลอด ปัญหานั้นก็คือ การเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เป็นอยู่ทุกขณะนั่นเอง เมื่อมนุษย์ต้องพบปัญหาอยู่ตลอด การฝึกมนุษย์ให้แก้ปัญหาได้ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพราะจะช่วยให้ขจัดปัญหาที่มาขัดขวางการดำเนินชีวิตได้ และชีวิตนั้นก็จะอยู่รอดตลอดไป
ประสบการณ์” ตามความคิดของจอห์น ดิวอี้ แบ่งเป็น ประเภท คือ ประสบการณ์ปฐมภูมิ (Primary experience) และ ประสบการณ์ทุติยภูมิ (Secondary experience)ประสบการณ์ปฐมภูมิ คือ ประสบการณ์ที่ยังไม่เป็นความรู้ หรือยังไม่ได้มีการคิดไตร่ตรอง เป็นเพียงกระบวนการของการกระทำและการประสบความเปลี่ยนแปลงระหว่างอินทรีย์และสภาพแวดล้อม ส่วนประสบการณ์ทุติยภูมิ เป็นประสบการณ์ประเภทที่เป็นความรู้ คือได้ผ่านกระบวนการคิดไตร่ตรองมาแล้ว ประสบการณ์ปฐมภูมิจะเป็นเนื้อหาของประสบการณ์ทุติยภูมิ เป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับคิดไตร่ตรอง ตัวอย่างเช่น เด็กเล่นซน ไปเหยียบถ่านไฟร้อน ๆ ผลปรากฏว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คือ เท้าถูกไฟลวก เป็นประสบการณ์ปฐมภูมิ เมื่อเด็กเกิดการเรียนรู้จากผลของการเหยียบถ่านไฟร้อน ทำให้เกิดความเจ็บปวด และไม่อยากเล่นบริเวณที่มีถ่านไฟร้อนอีก หรือระแวงที่จะเล่นไฟ เป็นประสบการณ์ทุติยภูมิ ประสบการณ์ที่เกิดจากการคิดไตร่ตรอง (Reflective thought เรียกอีกอย่างว่าประสบการณ์การรู้ (Cognitive experience)
จอห์น ดิวอี้ มีความเห็นว่าการศึกษาที่ถูกต้อง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการศึกษาแบบเก่าหรือแบบจารีต (Traditional) หรือแบบอนุรักษ์ (Conservative) กับการศึกษาแบบใหม่หรือแบบก้าวหน้า (Progressive) เพียงระบบใดระบบหนึ่ง ปรัชญาของดิวอี้เป็นปรัชญาที่สะท้อนออกมาเด่นชัดในเรื่องการศึกษาที่ยกย่องประสบการณ์ทั้งปวงที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้สถานการณ์ที่เป็นจริง เพราะการศึกษาตามความคิดของจอห์น ดิวอี้ คือ ความเจริญงอกงามทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรม ดังนั้นกระบวนการสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่ที่ต่อเนื่องกับประสบการณ์เก่าไปเรื่อย ต้องส่งเสริมให้เกิดประสบการณ์ใหม่เพื่อเป็นวิถีนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจในปัจจุบันและอนาคตได้
          การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติจริงเป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะกลุ่มปฏิบัติการที่เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรงจากการเผชิญสถานการณ์จริงและการแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการกระทำ ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ฝึกคิด ฝึกลงมือทำ ฝึกทักษะกระบวนการต่าง ๆ ฝึกการแก้ปัญหาด้วยตนเองและฝึกทักษะการเสาะแสวงหาความรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติตามแนวประชาธิปไตย กระบวนการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนี่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อให้ผู้เรียนคิดเป็นและแก้ปัญหาเป็น โดยการนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ บางครั้งก็เรียนวิธีสอนนี้ว่าการสอนแบบวิทยาศาสตร์
          ปัจจุบันการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติจริง เป็นการเรียนรู้ในแบบ Learning by doing ผู้เรียนจะเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ แนวคิดนี้จะจัดการสอนแบบโครงการ (Project-based learning) เป็นการสอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนจากการปฏิบัติจริง เป็นการเรียนจากประสบการณ์ตรง ผู้เรียนได้ทดลองทำปฏิบัติ เสาะหาข้อมูล จัดระเบียบข้อมูล พิจารณาหาข้อสรุป ค้นคว้าหาวิธีการ กระบวนการด้วยตนเอง หรือร่วมกันเป็นกลุ่ม เน้นให้ผู้เรียนมีอิสระในการศึกษาหาความรู้ตามหลักประชาธิปไตยให้ผู้เรียนได้รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น ให้ได้ค้นคว้าหาข้อมูลความรู้จากแหล่งต่าง ๆ มิใช่เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น ทำให้ผู้เรียนเกิดนิสัยการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองได้ด้วยความมั่นใจ ผลการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีประสบการณ์ของจอห์น ดิวอี้ ดังนี้
1. ผู้เรียนมีความสุขกับการเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานโดยผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย และสื่อที่เร้าความสนใจ
2. ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ ตามความถนัดและศักยภาพด้วยการศึกษา ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติฝึกทักษะจนถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองทำให้เกิดความเชื่อมั่นเป็นแรงจูงใจให้เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
3. กิจกรรมกลุ่มช่วยเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ เกิดกระบวนการทำงาน เช่น มีการวางแผนการทำงาน มีความรับผิดชอบ เสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีวินัยในตนเอง มีพฤติกรรมที่เป็นประชาธิปไตย เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ผู้เรียนที่เรียนรู้ช้าจะเรียนรู้อย่างมีความสุข มีชีวิตชีวา ได้รับกำลังใจและได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อน ทำให้เกิดความมั่นใจ ผู้เรียนที่เรียนดีจะได้แสดงความสามารถของตนเอง มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และแบ่งปันสิ่งที่ดีให้แก่กัน
4. ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดจากการร่วมกิจกรรมและการค้นหาคำตอบจากประเด็นคำถามของผู้สอนและเพื่อน ๆ สามารถค้นหาคำตอบและวิธีการได้ด้วยตนเอง สามารถแสดงออกได้ชัดเจนมีเหตุผล
5. ทุกขั้นตอนการจัดกิจกรรม จะสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้ซึมซับสิ่งที่ดีงามไว้ในตนเองอยู่ตลอดเวลา
6. คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน โดยให้แต่ละคนเรียนรู้เต็มตามศักยภาพของตน ไม่นำผลงานของผู้เรียนมาเปรียบเทียบกัน มุ่งให้ผู้เรียนแข่งขันกับตนเองและไม่เล็งผลเลิศจนเกินไป
7. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน คือ ผู้เรียนเรียนอย่างมีความสุข เกิดการพัฒนารอบด้าน มีอิสระที่จะเลือกวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเอง และนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
เอกสารอ้างอิง
ประทุม อังกูรโรหิต.(2543).ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาในสังคมประชาธิปไตย.กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
http://www.wangnoi-nfe.com/index.files/Page1139.htm
http://www.wijai48.com/learning_stye/experince_learning/learningbydoing.htm
2.4 ระบบทศนิยมดิวอี้ (อังกฤษDewey Decimal Classification) เรียกย่อๆ ว่า D.C. หรือ D.D.C เป็นระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดที่นิยมระบบหนึ่ง คิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริกัน เมลวิล ดิวอี้ ในขณะที่เขา กำลังเป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์อยู่ที่วิทยาลัยแอมเฮอร์ส (Amherst College)
การจัดหมวดหมู่หนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ แบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดหมู่ใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ต่างๆ
000 เบ็ตเตล็ด (Generalities)
100 ปรัชญา (Philosophy)
200 ศาสนา (Religion)
300 สังคมศาสตร์ (Social sciences)
700 ศิลปกรรมและการบันเทิง (Arts and recreation)
800 วรรณคดี (Literature)

ได้อธิบายทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยจะอธิบายถึงรายละเอียดความสาคัญและหลักการทำงานต่างๆที่สาคัญดังนี้
        2.1 นิยาม/ความหมายของห้องสมุด
        2.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID ในห้องสมุด 
        2.2 เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification)
        2.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID ในห้องสมุด 
        2.4 เทคโนโลยีบาร์โค้ด
        2.5 ระบบฐานข้อมูล
        2.6 โปรแกรม Microsoft Visual Studio 2008
        2.7 โปรแกรม Microsoft SQL Server 2005
        2.8 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
                                                         
2.5 นิยาม/ความหมายของห้องสมุด
        ห้องสมุด ( Library) หมายถึงแหล่งรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ทั้งที่อยู่ในรูปของสิ่งตีพิมพ์ และไม่ตีพิมพ์ (สารนิเทศ) เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้ใช้ มีการบริการและจัดอย่างเป็นระบบ เป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกแก่ผู้ใช้ในการค้นหาวัสดุสารนิเทศดังกล่าว บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นการจัดหา จัดซื้อ จัดหมู่ทำบัตรรายการซ่อมหนังสือ ฯ

        2.5.1 วัตถุประสงค์ของห้องสมุด
1. เพื่อการศึกษา
2. เพื่อการค้นคว้าวิจัย
3. เพื่อการจรรโลงใจ
4. เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ
5. เพื่อบริการด้านข่าวสาร
                1. เพื่อการศึกษา จากการที่ปัจจุบันการศึกษาจะเน้นให้ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ห้องสมุดจึงถือเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้ศึกษาความรู้ได้ด้วยตนเองตามความรู้ความสามารถ และความต้องการของแต่ละบุคคล ดังนั้นห้องสมุดจึงต้องจัดหาหนังสือ สิ่งพิมพ์ ตลอดจนโสตทัศนวัสดุมาไว้บริการในห้องสมุด เพื่อสนองวัตถุประสงค์ดังกล่าวเช่นห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัย วิทยาลัย

                     2. เพื่อการค้นคว้าวิจัย ปัจจุบันประเทศไทยเรามีการพัฒนามาหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นในด้านการศึกษาการแพทย์ ธุรกิจ สิ่งแวดล้อม มีการทำวิจัยในหลายด้าน เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ และเพื่อพัฒนาประเทศ การค้นคว้าวิจัยดังกล่าว ห้องสมุดมีบทบาทมากในการเป็นแหล่งความรู้ข้อมูลต่างๆ เพื่อเป็นหลักฐานอ้างอิงในการวิจัย ผู้ที่จะทำการวิจัยเรื่องใหม่ๆ ย่อมต้องการค้นคว้าเรื่องที่มีอยู่เดิมเพื่อความรู้ และเพื่อให้ทราบว่างานวิจัยเรื่องนั้นๆ มีใครทำแล้วหรือไม่ จะได้ไม่ทำซ้ำ
        3. เพื่อการจรรโลงใจ ห้องสมุดได้รวบรวมสารนิเทศไว้หลายประเภทแต่จะมีบางประเภทที่ให้ความจรรโลงใจ หรือความสุขทางใจแก่ผู้อ่าน/ผู้ใช้ เช่น ประเภทวรรณคดี (ทำให้ซาบซึ้งในสำนวนภาษา บทกวี ข้อคิดของนักปราชญ์) ประเภทศาสนา ชีวประวัติ (ทำให้เกิดแนวคิดที่ดี ให้คติชีวิต ชื่นชมในความคิดที่ดีงามของผู้อื่น เกิดแรงจูงใจปรารถนาที่จะกระทำสิ่งนั้น) 
        4. เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ห้องสมุดบางแห่งนอกจากจะมีหนังสือ วารสาน นิตยสาร โสตทัศนวัสดุในด้านวิชาการแล้ว ยังมีประเภทที่ให้ความบันเทิง บางแห่งมีการเล่านิทาน จัดนิทรรศการ ประกวดคำขวัญ กิจกรรมดังกล่าวทำให้เกิดความเพลิดเพลิน
        5. เพื่อบริการด้านข่าวสาร ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ ข่าวสารเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่างๆของโลก ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาน จะทำให้ผู้อ่านสามารถนำข่าวสารความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงความรู้ ความสามารถของตนเองที่มีอยู่เดิมทำให้เป็นคนทันต่อเหตุการณ์ ความเปลี่ยนแปลงของโลก
        2.5.2  ประเภทของห้องสมุด
               1. หอสมุดแห่งชาติ
               2. ห้องสมุดโรงเรียน
               3. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดวิทยาลัย
               4. ห้องสมุดประชาชน
               5. ห้องสมุดเฉพาะ
        1. หอสมุดแห่งชาติ คือ ห้องสมุดที่รัฐบาลของประเทศจัดตั้งขึ้นเพื่อรวบรวมหนังสือสิ่งพิมพ์ เอกสาร วัสดุอื่นๆที่ผลิตขึ้นทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ให้ผู้ใช้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับ ได้ศึกษาค้นคว้า ซึ่งวัสดุที่ผลิตขึ้นนี้ มีกฎหมายกำหนดให้ผู้ผลิตต้องส่งมอบให้กับหอสมุดแห่งชาติส่วนหนึ่ง
        2. ห้องสมุดโรงเรียน คือ ห้องสมุดที่โรงเรียนแต่ละระดับ (อนุบาล ประถม มัธยมศึกษา) จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าประกอบการเรียนการสอนของครู และนักเรียน และเพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
        3. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดวิทยาลัย คือ ห้องสมุดที่ตั้งขึ้นในมหาวิทยาลัย วิทยาลัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัย แก่นักศึกษา และครูอาจารย์ในสถานศึกษานั้นๆ
        4. ห้องสมุดประชาชน คือ ห้องสมุดที่รัฐบาล จังหวัด เทศบาลจังหวัดนั้นๆ จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการแก่ประชาชนในท้องถิ่นของตน เพื่อเป็นแหล่งส่งเสริมความรู้ ความสนใจ ปรับปรุงความรู้ในงานอาชีพของตน ให้ประชาชนรู่จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและ ความเพลิดเพลิน เป็นศูนย์รวมข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆของประเทศ และของโลกให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้นได้ทราบความเคลื่อนไหว มีความรู้ทันต่อเหตุการณ์
        5. ห้องสมุดเฉพาะ คือ ห้องสมุดหน่วยราชการ องค์การ สถาบัน สมาคม บริษัท โรงงานต่างๆ จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมสิ่งพิมพ์ และโสตทัศนวัสดุทางวิชาการ และเฉพาะวิชาที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนั้น ให้สมาชิกของหน่วยงานได้ศึกษาความรู้ เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน เพื่อส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยในสาขาที่ตนปฏิบัติงานอยู่

        2.5.3  ความสำคัญของห้องสมุด
               1. ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ต่างๆในโลกเอาไว้
เมื่อมนุษย์มีการค้นพบความรู้ต่างๆขึ้นมาใหม่ ก็จะมีการบันทึกเก็บรวบรวมไว้ในรูปแบบต่างๆ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ แต่ปัจจุบันจะบันทึกในคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดจึงต้องมีหน้าที่เก็บรวบรวมสารนิเทศไว้บริการ
               2. ห้องสมุดเป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างเสรี ตามความงามสนใจ
การเรียนชั้นเรียนแต่ละคนจะมีความสนใจหรือความชอบที่ต่างกันไปไม่เหมือนกัน บางครั้งครูผู้สอน สอนจำกัดในหลักสูตร แต่ผู้เรียนมีความสนใจ ต้องการค้นคว้าเพิ่มเติม ก็สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้จากห้องสมุด
               3. ห้องสมุดช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้า
เมื่อเข้าห้องสมุดไปอ่านศึกษาค้นคว้าหนังสือหรือสารนิเทศอื่นๆ เพื่อความบันเทิงหรือคลายเครีด ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่จะสามารถปลูกฝังให้เกิดนิสัยรักการอ่าน และการค้นคว้าได้
               4. ห้องสมุดช่วยส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
มนุษย์เราเมื่อมีเวลาว่างมักจะหากิจกรรมที่ไม่ใช่งานประจำทำ บางคนเลือกอ่านหนังสือดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ ดูภาพยนตร์ ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ ซึ่งการอ่านหนังสือก็สามารถนำความรู้ ความคิดใหม่ๆ ที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรืองานประจำได้ละการจะมีหนังสืออ่านนั้นนอกจากจะซื้อเป็นสมบัติส่วนตัวหรือยืมจากเพื่อนคนใกล้ชิดแล้วห้องสมุดก็เป็นแหล่งหนึ่งที่จะสนองความต้องการดังกล่าว
               5. ห้องสมุดช่วยให้ผู้ใช้ มีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ
โดยทั่วไปห้องสมุดมีหน้าที่จัดหาทรัพยากรสารนิเทศใหม่ๆ มาบริการผู้ใช้อยู่เสมอ สารนิเทศบางประเภทจะมีการเสมอข่าวสารข้อมูลใหม่ๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ วารสาน ซึ่งให้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และทันสมัยกว่าหนังสือ
2.6 เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification)
        RFID ย่อมาจากคำว่า Radio Frequency Identification เป็นระบบฉลากที่ได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 โดยที่อุปกรณ์ RFID ที่มีการประดิษฐ์ขึ้นใช้งานเป็นครั้งแรกนั้น เป็นผลงานของ Leon Theremin ซึ่งสร้างให้กับรัฐบาลของประเทศรัสเซียในปี ค.ศ. 1945 ซึ่งอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาในเวลานั้นทำหน้าที่เป็นเครื่องมือดักจับสัญญาณ ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นตัวระบุเอกลักษณ์อย่างที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน
RFID ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที่สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุจากระยะห่าง เพื่อตรวจ ติดตามและบันทึกข้อมูลที่ติดอยู่กับป้าย ซึ่งนำไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับวัตถุต่างๆเช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรือสิ่งของใดๆ สามารถติดตามข้อมูลของวัตถุ ชิ้นว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และเมื่อไร ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนกี่ชิ้น และแต่ละชิ้นมาจากที่ไหน รวมทั้งตำแหน่งที่ตั้งของวัตถุนั้น ๆ ในปัจจุบันว่าอยู่ส่วนใดในโลก โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือต้องเห็นวัตถุนั้นๆ ก่อน ทำงานโดยใช้เครื่องอ่านที่สื่อสารกับป้ายด้วยคลื่นวิทยุในการอ่านและเขียนข้อมูล
        2.6.1 ข้อดีของเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification)
              -  มีความละเอียด และสามารถบรรจุข้อมูลได้มากกว่า ซึ่งทำให้สามารถแยกความแตกต่างของสินค้าแต่ละ          ชิ้นแม้จะเป็น SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสินค้า) เดียวกันก็ตาม
-   ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแถบ RFID เร็วกว่าการอ่านข้อมูลจากแถบบาร์โค้ดหลายสิบเท่า
-   สามารถอ่านข้อมูลได้พร้อมกันหลาย ๆ แถบ RFID
-   สามารถส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับได้โดยไม่จำเป็นต้องนำไปจ่อในมุมที่เหมาะสมอย่างการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Non-Line of Sight)
-   ค่าเฉลี่ยของความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยเทคโนโลยี RFID นั้นจะอยู่ที่ประมาณ 99.5 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ความถูกต้องของการอ่านข้อมูลด้วยระบบบาร์โค้ดอยู่ที่ 80 เปอร์เซ็นต์
-   สามารถเขียนทับข้อมูลได้ จึงทำให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ซึ่งจะลดต้นทุนของการผลิตป้ายสินค้า ซึ่งคิดเป็นประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท
-   สามารถขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการอ่านข้อมูลซ้ำที่อาจเกิดขึ้นจากระบบบาร์โค้ด
-   ความเสียหายของป้ายชื่อ (Tag) น้อยกว่าเนื่องจากไม่จำเป็นต้องติดไว้ภายนอกบรรจุภัณฑ์
-   ระบบความปลอดภัยสูงกว่า ยากต่อการปลอมแปลงและลอกเลียนแบบ
-   ทนทานต่อความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก

               โดยมากมักจะใช้วิธีการมอดูเลตทางแอมปลิจูดหรือใช้การมอดูเลตทางแอมปลิจูดบวกกับการเข้ารหัสแมนเชสเตอร์ ( Manchester encoded AM) แต่ทว่าในปัจจุบันก็มีแท็กส์ที่ใช้การมอดูเลตแบบอื่นๆด้วย เช่น การมอดูเลชั่นแบบเฟสซีฟคีย์อิ้ง(Phase Shift Keying : PSK) ฟรีเควนซี่ซีฟคีย์อิ้ง (Freqeuecy Shift Keying : FSK) หรือการใช้การมอดูเลตทางความถี่ (Frequency Modulation : FM)ในการรับส่งข้อมูลหรือสัญญาณวิทยุระหว่างแท็กส์กับเครื่องอ่าน จะได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อเมื่อสายอากาศมีความยาวที่เหมาะสมกับความถี่พาหะที่ใช้งาน เช่น เมื่อความถี่ใช้งานเป็น 13.56 เมกะเฮิรตซ์ ความยาวของเสาอากาศ (เป็นเส้นตรง) ที่เหมาะสมก็คือ 22.12 แน่นอนว่าในทางปฏิบัติคงไม่สามารถนำเสาอากาศที่ใหญ่ขนาดนั้นมาใช้งานกับแท็กส์ขนาดเล็กได้ สายอากาศที่ดูจะเหมาะจะใช้ร่วมกับแท็กส์มากที่สุดก็คือ สายอากาศที่เป็นขดลวดขนาดเล็กหรือที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่าสายอากาศแบบแมกเนติกไดโพล (Magnetic dipole Antenna) รูปแบบของสายอากาศแบบนี้ก็จะมีอยู่หลากหลายทั้งแบบที่เป็นขดลวดพันแกนอากาศหรือแกนเฟอร์ไรต์ แบบที่เป็นวงลูปที่ทำขึ้นจากลายทองแดงบนแผ่นวงจรพิมพ์ ทั้งที่เป็นลูปแบบวงกลมและสี่เหลี่ยม ทั้งนี้ความเหมาะสมในการใช้งานก็แตกต่างกันไปตามความถี่พาหะและประเภทของงานด้วยเช่นกัน    
  นอกจากการรับส่งข้อมูลแล้วสายอากาศก็ยังทำหน้าที่เป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับแท็กส์ด้วย โดยอาศัยหลักการทำงานตามแนวคิดของไมเคิล ฟาราเดย์ เรื่องแรงดันเหนี่ยวนำในขดลวดที่เกิดขึ้นจากเส้นแรงแม่เหล็ก (จากเครื่องอ่าน) ที่มีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา (Time-varying magnetic field) พุ่งผ่านสายอากาศของแท็กส์ เมื่อแท็กส์และเครื่องอ่านตั้งอยู่ห่างกันในระยะ 0.16 เท่าของความยาวของคลื่นพาหะที่ใช้ เรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า Transformer-type Coupling ซึ่งเป็นปรากฏการณ์แบบเดียวกับการเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นระหว่างขดลวดปฐมภูมิ (Primary) และขดลวดทุติยภูมิ (Secondary) ในทรายสฟอร์เมอร์ (Transformer) จะเป็นวงจรพื้นฐานสำหรับอธิบายกลไกที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูลของแท็กส์
ภาพที่ 2.เทคโนโลยี RFID
     2.7  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID ในห้องสมุด 
           แนวคิดที่จะนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ในกระบวนการยืมคืนหนังสือและสื่อโสตทัศน์ด้วยตนเอง  ห้องสมุดแห่งแรกที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID คือ ห้องสมุดของ Rockefeller   University in New York ส่วนห้องสมุดประชาชนแห่งแรกที่นำเทคโนโลยี RFID มาใช้ คือ Farmington Community Library ในรัฐมิชิแกน ห้องสมุดแต่ละแห่งพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บรายละเอียดทางบรรณานุกรมและสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ  เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการของห้องสมุด  โดยทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการจะได้รับตัวเลขที่เฉพาะรายการ (บาร์โค้ด) ซึ่งไม่ได้มีความสัมพันธ์กันระหว่างชื่อผู้แต่ง และชื่อเรื่องของทรัพยากรสารสนเทศรายการนั้นๆ  การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ด  ผู้ใช้ต้องติดต่อขอความช่วยเหลือจากบรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่  จากนั้นบรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่จะนำแถบบาร์โค้ดที่ติดกับทรัพยากรสารสนเทศนั้นไปไว้ในบริเวณที่เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด  โดยสามารถอ่านได้ทีละเล่ม  แต่สำหรับเทคโนโลยี RFID นั้นมีลักษณะคล้ายกับบาร์โค้ดและยังสามารถรองรับความต้องการอีกหลายๆอย่างที่บาร์โค้ดไม่สามารถตอบสนองได้  กล่าวคือ  เทคโนโลยีบาร์โค้ดเป็นระบบที่อ่านได้อย่างเดียว  ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่อยู่บนบาร์โค้ดได้  แต่ป้าย RFID สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากตัวเลขและเพิ่มเติมข้อมูลภายหลังได้  นอกจากนี้ระบบเทคโนโลยี RFID เป็นเทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลทุกอย่างผ่านคลื่นความถี่วิทยุ  ดังนั้นการอ่านข้อมูลจากป้าย RFID จึงไม่ต้องป้ายข้อมูลอยู่ในบริเวณที่เครื่องอ่านอ่านได้  และผู้ใช้สามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศได้ด้วยตนเอง  นอกจากนี้เมื่อมีการยืมคืนผ่านเทคโนโลยี RFID ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศจะถูกปรับปรุงข้อมูลเป็นปัจจุบันทันที

 กระบวนการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี  RFID

 ภาพที่ 2.2 กระบวนการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี  RFID
กระบวนการคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี RFID

ภาพที่ 2.3 กระบวนการคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยระบบเทคโนโลยี RFID

        2.7.1   การนำ RFID มาใช้กับงานห้องสมุด
การบริการยืม – คืนวัสดุสารสนเทศ (Self-Service)
การบริการรับคืนวัสดุสารสนเทศด้วยตนเอง (Material Return) ที่ตู้รับคืนหนังสืออัตโนมัติ (Book Return)
 - ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ (RFID Theft Detection/Security Gate)
อุปกรณ์แยกวัสดุสารสนเทศ (Sorting Station) เป็นชุดอุปกรณ์เพื่อแยกหนังสือ หรือ วัสดุสารสนเทศที่ได้รับคืนจากสมาชิกออกตามหมวดหมู่ หรือชั้นวางที่ถูกต้อง
 - การสำรวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น (Inventory and Shelf Management) การสำรวจหนังสือ หรือ วัสดุสารสนเทศบนชั้น ซึงจะตรวจสอบสอบว่าหนังสือเล่มใดวางผิดที่ หรือมีจำนวนหนังสือที่หายไป


        2.7.2 เหตุผลในการนำ RFID มาใช้ในห้องสมุด
        เทคโนโลยี RFID มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์และเอื้อให้เกิดความสะดวกในการใช้บริการ ดังนี้               2.7.2.1 ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการให้บริการยืมคืน                การนาระบบเทคโนโลยี RFID มาใช้ในห้องสมุดจะช่วยลดขั้นตอนและเวลาที่ใช้ในการให้บริการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งนี้เนื่องจากระบบเทคโนโลยี RFID เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีจากคลื่นความถี่วิทยุในการตรวจสอบข้อมูล บรรณารักษ์จึงไม่จาเป็นต้องเสียเวลาในการนาบาร์โค้ดหนังสือให้อยู่ในบริเวณที่เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้ นอกจากนี้ยังสามารถอ่านได้ทีละหลายเล่มพร้อมๆกันอีกด้วย จึงทาให้การบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลารอเข้าแถวเพื่อยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศ               2.7.2.2 ทาให้การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายขึ้น                ห้องสมุดที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID แล้ว จะเอื้อให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง และการยืมคืนด้วยตนเองมีขั้นตอนที่สั้นและมีวิธีใช้งานง่าย คือ เดิมเจ้าหน้าที่/บรรณารักษ์เป็นผู้ให้บริการยืมคืนแก่ผู้ใช้ โดยนาบาร์โค้ดบนทรัพยากรสารสนเทศนั้นไปอ่านด้วยเครื่องอ่าน จากนั้นนาไปลบสัญญาณกันขโมย ซึ่งมีขั้นตอนยุ่งยาก แต่หากใช้ระบบเทคโนโลยี RFID ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศต่างๆด้วยตนเอง ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆเพียงผู้ใช้ห้องสมุดนาทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมหรือคืนใส่ในตาแน่งที่กำหนด เครื่องจะดาเนินการยืม/คืนให้เรียบร้อย โดยปรับข้อมูลยืมคืนของผู้ใช้และฐานข้อมูลห้องสมุดให้เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งลบสัญญาณกันขโมยทันที ซึ่งเป็นกระบวนการที่ง่าย ไม่ซับซ้อน และสะดวก นอกจากนี้เวลาคืนทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรอห้องสมุดเปิดทาการหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ผู้ใช้สามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครื่องคืนทรัพยากรสารสนเทศได้ทันที จึงทาให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจในการใช้บริการยืมคืนด้วยตนเอง สาหรับผู้ปฏิบัติงานบริการยืมคืนจะมีเวลาในการปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการในด้านอื่นๆแก่ผู้ใช้มากขึ้น        2.7.2.3 มีความปลอดภัยสูง       บริษัทผู้จัดจาหน่าย RFID ส่วนใหญ่อ้างว่าระบบการป้องกันการสูญหายและการขโมยทรัพยากรสารสนเทศของ RFID มีความเชื่อถือได้สูง ดังนั้นห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าในขณะนี้ทรัพยากรสารสนเทศรายการใดได้ยืมออกจากห้องสมุด หรือทรัพยากรสารสนเทศรายการใดหายไปจากชั้นหนังสือเพื่อดาเนินการซื้อทดแทนรายการที่สูญหายได้ทันที นอกจากนี้หากบัตรสมาชิกห้องสมุดได้ใช้เทคโนโลยี RFID ด้วยแล้ว จะทาให้ห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าสมาชิกคนใดได้นาทรัพยากรสารสนเทศออกจากห้องสมุด โดยยังไม่ได้ผ่านกระบวนการยืมคืน               2.7.2.4 เพิ่มความรวดเร็วในการสำรวจชั้นหนังสือ               การสำรวจชั้นหนังสือจะรวดเร็วขึ้นด้วยเครื่องอ่านแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Hand-held inventory reader) เพียงบรรณารักษ์ถือเครื่องอ่านนี้เดินตามชั้นหนังสือ ก็สามารถทราบได้ทันทีว่าทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นอยู่ถูกตาแน่งโดยเรียงตามลาดับตามเลขเรียกหนังสือหรือไม่ และรายการทรัพยากรสารสนเทศใดบ้างที่หายไปจากชั้น จึงช่วยลดปัญหาการไม่พบหนังสือบนชั้นได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้การสำรวจชั้นหนังสือก็ทาได้ง่ายและบ่อยครั้งขึ้นตามความต้องการ ซึ่งข้อมูลของห้องสมุดจะทันสมัยตลอดเวลา               2.7.2.5 ป้าย RFID มีอายุการใช้งานนาน               ป้าย RFID มีระยะเวลาในการใช้งานยาวนานกว่าแถบบาร์โค้ด บริษัทจัดจาน่ายอ้างว่า ป้าย RFID 1 ชิ้นสามารถผ่านการใช้งานยืมคืนอย่างน้อยที่สุด 100,000 ครั้ง จึงจะถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแผ่นใหม่ ดังนั้นจึงมีความคงทนและมีอายุการใช้งานได้นาน
     2.8  เทคโนโลยีบาร์โค้ด
        บาร์โค้ดคือ การพิมพ์สัญลักษณ์เพื่อแสดงถึงข้อความต่าง ๆ   โดยปกติการพิมพ์จะพิมพ์สัญลักษณ์เป็นเส้นตรง สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือจุด  โดยระยะห่างของแต่ละจุดจะมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง  เทคนิคในการแปลสัญลักษณ์เหล่านี้เป็นข้อความต่าง ๆ เรียกว่า  Symbology   ซึ่งจะมีลักษณะหลัก ๆ ดังต่อไปนี้§   การถอดรหัส  เทคนิคที่ดีจำเป็นอย่างยิ่งต้องสามารถถอดรหัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ  และไม่มีข้อผิดพลาดในการถอดรหัส§   ความเข้มของตัวอักษร  ถ้าตัวอักษรแต่ละตัวมีความเข้มมาก  ก็สามารถที่จะแสดงถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้มากขึ้นตามไปด้วย§   ความสามารถในการตรวจสอบข้อผิดพลาด  ระบบ  Symbology ที่ดีจะต้องสามารถที่จะตรวจสอบความถูกต้อง  เพื่อเป็นการยืนยันว่า  ข้อมูลที่อ่านขึ้นมานั้นมีความถูกต้องแม่นยำ
        2.8.1 กระบวนการอ่านบาร์โค้ด
        อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านบาร์โค้ดเรียกว่า  เครื่องอ่านบาร์โค้ด  (Bar Code Scanner) เครื่องอ่านบาร์โค้ดอาศัยคลื่นแสงโดยการส่งคลื่นแสงไปยังแถบบาร์โค้ด  ในระหว่างการอ่านแถบบาร์โค้ด คลื่นแสงไม่สามารถที่จะเคลื่อนย้ายออกจากแถบบาร์โค้ดได้  ดังนั้นเมื่อมีการเพิ่มความยาวของบาร์โค้ด  ขนาดความสูงของเครื่องอ่านบาร์โค้ดก็จำเป็นต้องเพิ่มขึ้นตามไปด้วย เพื่อที่จะให้คลื่นแสงสามารถที่จะครอบคลุมแถบบาร์โค้ดทั้งหมดได้         ระหว่างการอ่าน  เครื่องอ่านจะทำการวัดลำแสงที่สะท้อนกลับมาจากแถบสีดำ  และบริเวณสีขาวของแถบบาร์โค้ด  โดยที่แถบสีดำจะดูดซับคลื่นแสง  ในขณะที่บริเวณสีขาวจะทำการสะท้อนคลื่นแสง  อุปกรณ์อิเลกทรอนิคที่เรียกว่า   Photodiode  หรือ Photocell  จะทำการแปลงคลื่นแสงที่ได้รับเป็นคลื่นไฟฟ้า  หลังจากนั้นก็จะทำการแปลงคลื่นไฟฟ้าเป็นข้อมูล  Digital  ข้อมูลที่ได้รับจะเป็นรูปรหัส   ASCII  
        2.8.2   เครื่องอ่านบาร์โค้ด
        ในปัจจุบันนี้  เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถแบ่งได้เป็นสี่ประเภท
-    เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบปากกา  เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบนี้จะมีลักษณะคล้ายปากกโดยมีแสงอยู่ที่ปลาย  ในช่วงการอ่านแถบบาร์โค้ดต้องถูกคลื่นแสงส่องตลอดเวลา  จุดดีของเครื่องอ่านแบบนี้ คือราคาไม่แพงและมีน้ำหนักเบา   แต่
-   จุดเสียของเครื่องอ่านแบบนี้คือ หากแถบบาร์โค้ดติดอยู่บนพื้นผิวที่ไม่เรียบ  ทำให้เครื่องอ่านไม่สามารถอ่านได้อย่างถูกต้อง  เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์  เครื่องอ่านแบบนี้เป็นเครื่องอ่านที่มีการใช้แพร่หลายมากที่สุด  จุดดีของเครื่องอ่านแบบนี้  คือสามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดได้  ถึงแม้ว่าจะติดอยู่บนพื้นผิวที่ไม่เรียบ  เนื่องจากว่า  เครื่องอ่านแบบนี้จะประกอบด้วยลำแสงเลเซอร์จำนวนมาก  เลเซอร์แต่ละลำแสงสามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดได้ด้วยความเร็ว  40 – 800 ครั้งต่อวินาที  ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว  ลำแสงบาร็โค้ดเพียงลำแสงเดียวเท่านั้น  ก็สามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดได้  จากการที่เครื่องอ่านแบบนี้สามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดได้รวดเร็ว  เครื่องอ่านแบบนี้จะนำมาใช้งานกันอย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรม   เครื่องอ่านแบบนี้สามารถที่จะทำเป็นเครื่องอ่านแบบติดตั้งอยู่กับที่  สำหรับการอ่านวัตถุที่มีการเคลื่อนที่  เช่น บนสายพานลำเลียงสินค้า เป็นต้น  ด้วยเครื่องอ่านแบบนี้ ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องเคลื่อนย้ายวัตถุ  ในบางกรณีาเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบนี้สามารถอ่านแถบบาร์โค้ดที่อยู่ในระยะไกลถึง 9เมตรได้   เครื่องอ่านแบบ CCD  เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบนี้ใช้วิธีการจับภาพแถบบาร์โค้ด  หลังจากการจับภาพของแถบบาร์โค้ด 
-   เครื่องอ่านก็จะทำการปรับภาพดังกล่าว  เป็นข้อมูลที่เป็นแบบดิจิตอลเหมือนเช่นบาร์โค้ดแบบเลเซอร์  จุดเสียของเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบนี้ คือ เครื่องอ่านแบบนี้ไม่สามารถอ่านแถบบาร์โค้ดที่มีความยาวมากได้  เนื่องจากข้อจำกัดในการจับภาพ
-    เครื่องอ่านแบบกล้อง  กล้องขนาดเล็กที่ซ่อนอยู่ในเครื่องอ่าน  กล้องขนาดเล็กนี้จะทำการจับภาพบาร์โค้ด  และทำการประมวลผล  แต่เครื่องอ่านแบบนี้จะอ่อนไหวต่อคุณภาพของแถบบาร์โค้ดอย่างมาก  เช่น  แถบบาร์โค้ดควรจะมีความแตกต่างสีขาวและดำอย่างชัดเจน  ห้ามมีจุดดำอื่นใดบนแถบบาร์โค้ด   

               2.8.3 ประโยชน์ของเทคโนโลยีบาร์โค้ด
-  รวดเร็วและแม่นยำในการเก็บข้อมูล  เทคโนโลยีบาร์โค้ดทำให้การเก็บข้อมูลเป็นไปอย่างอัตโนมัติ   การอ่านข้อมูลโดยเครื่องอ่านบาร์โค้ดทำให้มีความแม่นยำ  จากการศึกษาพบว่า  ข้อผิดพลาดมีเพียงหนึ่งในสามล้านครั้ง 
-การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ข้อมูลที่ได้รับจากเครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถส่งต่อให้กับระบบการทำงาน  เพื่อให้กระบวนการทำงานสามารถดำเนินการได้อย่างอัตโนมัติ   เช่นระบบเข้า-ออกสำนักงานของพนักงาน
-  ลดค่าใช้จ่ายในการทำงาน   การเก็บข้อมูลด้วยเทคโนโลยีบาร์โค้ดทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล  เนื่องจาการเก็บข้อมูลที่ผิดพลาด  เป็นต้น

               2.8.4   ข้อจำกัดของเทคโนโลยีบาร์โค้ด

               อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีบาร์โค้ดก็มีข้อจำกัดของตนเองอยู่  ข้อจำกัดหลัก ๆ ได้แก่

- เสียหายง่าย  แถบบาร์โค้ดเสียหายได้ง่าย  เพียงแค่มีรอยเปื้อนสกปรก  แถบสี  หรือสีจางไปเมื่อถูกแสงแดด หรือความชื้น
- เครื่องอ่านบาร์โค้ดมีข้อจำกัดในการทำงาน   เมื่อนำเครื่องอ่านบาร์โค้ดไปใช้งานในสภาพแวดล้อมที่เปียกชื้น  คลื่นแสงที่ใช้ในการอ่านจะถูกหักเหง่าย  เมื่อแถบบาร์โค้ดมีการเปียกชื้น  ด้วยสาเหตุดังกล่าวทำให้การอ่านข้อมูลในแถบบาร์โค้ดผิดพลาดได้
  ขณะการอ่านแถบบาร์โค้ด  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเห็นแถบบาร์โค้ด   หากแถบบาร์โค้ดถูกปิดบัง  ทำให้ไม่สามารถที่จะอ่านข้อมูลได้
-  ความเร็ว  เครื่องอ่านบาร์โค้ดไม่สามารถที่จะอ่านแถบบาร์โค้ดที่เคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็ว  ดังนั้นหากแถบบาร์โค้ดติดอยู่บนวัตถุที่เคลื่อนไหวด้วยความรวดเร็ว  จะมีผลทำให้ความแม่นยำในการอ่านต่ำลง
     2.9 ระบบฐานข้อมูล
        ฐานข้อมูล (Database) คือ การนาเอาข้อมูลหลาย ๆ ไฟล์มาเก็บไว้ในที่เดียวกัน และข้อมูลนั้นจะต้องมีความสัมพันธ์กันหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งฐานข้อมูลก็คือ โครงสร้างของสารสนเทศ (Information)        ฐานข้อมูล คือ แหล่งที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้นี้จะถูกจัดการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สร้างฐานข้อมูล ข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกจัดเก็บเป็นไฟล์ข้อมูล นอกจากจะเป็นข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันแล้ว ยังต้องเป็นข้อมูลที่ใช้สนับสนุนการดาเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่งขององค์กร ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าแต่ละฐานข้อมูลจะเทียบเท่ากับระบบแฟ้มข้อมูล 1 ระบบ และอาจจะเรียกฐานข้อมูลที่จัดทาขึ้นเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่งว่า
        ระบบฐานข้อมูล คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันไว้ในที่เดียวกัน ในฐานข้อมูลนอกจากจะเก็บรวบรวมฐานข้อมูลที่สัมพันธ์กันแล้วยังต้องมีการเก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูลที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เมต้าดาต้า (Meta - Data) 
ภาพที่ 2.4 แสดงระบบฐานข้อมูล

          ในระบบการประมวลผลข้อมูล (Database Management System) จะมีรูปแบบและวิธีการประมวลผลข้อมูลซึ่งแก้ไข้ข้อบกพร่องของระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูลในระบบการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กันจะถูกเก็บในที่เดียวกัน
        โครงสร้างหน่วยข้อมูลที่อยู่ในระบบประมวลผลทั้งระบบแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูลมีดังนี้
               1.บิท (Bit : Binary Digit) คือ หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดภายในแฟ้ม ซึ่งหน่วยข้อมูลพื้นฐานที่เก็บอยู่หน่วยความจาภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ บิท จะแทนด้วยเลขฐาน 2
               2.ไบท์ (Byte) คือ หน่วยข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาบิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ
               3.เขตข้อมูลหรือฟิลด์ (Field) คือ การนาเอาตัวอักขระมาประกอบเป็นกลุ่มคาที่มีความหมายขึ้นมา
               4.ระเบียนหรือเรคคร์อด (Record) คือ การนาเอาข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน
               5.แฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ (File) คือ ระเบียนแต่ละระเบียนของข้อมูลเดียวกัน

        2.9.1 ประเภทของฐานข้อมูล
         ประเภทของฐานข้อมูลที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีโครงสร้าง 3 แบบ คือ
                2.5.1.1 ฐานข้อมูลแบบลาดับขั้น (Hierarchical Database)
ฐานข้อมูลแบบลาดับขั้น (Hierarchical Database) คือ ลักษณะของฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หรือหนึ่งต่อกลุ่ม แต่จะไม่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มเรียกอีกแบบหนึ่งว่าโครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยจะมีระเบียนที่แถวบนซึ่งเรียกว่าระเบียนพ่อแม่ (Child record) ซึ่งระเบียนพ่อแม่จะสามารถมีระเบียนลูกได้มากกว่าหนึ่งระเบียน แต่ระเบียนลูกจะมีระเบียนพ่อแม่ได้หนึ่งระเบียน
               2.5.1.2 ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database )
ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) คือ ภายในฐานข้อมูลแบบนี้สามารถมีความสัมพันธ์แบบใดก็ได้
               2.5.1.3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relation Database)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ซึ่งสามารถทางานได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกแบบ ฐานข้อมูลแบบนี้จะถูกเก็บในรูปแบบของตาราง (Table) ซึ่งภายในตารางก็แบ่งออกเป็นแถว (Row) และคอลัมน์ (Column) แต่ละตารางสามารถมีจานวนแถวและ22
     คอลัมน์ได้มาก แต่ละแถวสามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเขตข้อมูลหรือ (Filed) นอกจากตารางยังเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า (Relation) แถวแต่ละแถวในตารางยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทัพเพิล (Tuple) และคอลัมน์แต่ละคอลัมน์เรียกอีกอย่างว่า แอททริบิวต์ (Attibute)

        2.9.2 องค์ประกอบของฐานข้อมูล
        ระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นระบบที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมช่วยจัดการฐานข้อมูลเหล่านี้ เพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการองค์ประกอบของฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
               1. ข้อมูล (Data)
                ฐานข้อมูลเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นศูนย์กลางข้อมูลอย่างมีระบบซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถเรียกใช้งานร่วมกันได้ ผู้ใช้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลจะมองภาพของข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน
                2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
                ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบฐานข้อมูล ได้แก่ หน่วยเก็บบันทึกข้อมูลภายนอก (Secondary Storage) ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูล รวมทั้งหน่วยความจาหลัก (Memory) ที่ใช้สาหรับเก็บข้อมูลเพื่อรอการประมวลผลของโปรแกรมระบบฐานข้อมูลต่อไป
               3. ซอฟต์แวร์ (Software)
                ซอฟต์แวร์ คือ ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) เป็นโปรแกรมที่ช่วยจัดการและควบคุมความถูกต้อง ความซ้าซ้อนและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ต่าง ๆ ภายในฐานข้อมูล ส่งผลให้ผู้ใช้สามารถที่จะเรียกใช้ข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้างกายภาพของ ข้อมูล และอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้ในการใช้งานฐานข้อมูล

                4. ผู้ใช้ระบบ (User)
                ผู้ใช้ระบบ คือ ผู้ที่เรียกใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมาใช้งาน สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่
               4.1 ผู้พัฒนาโปรแกรม (Application Programmer) ได้แก่ ผู้ที่ทาหน้าที่พัฒนาโปรแกรม เพื่อเรียกใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมาทาการประมวลผล โดยโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นส่วนใหญ่ มักจะใช้ร่วมกับคาสั่งในกลุ่ม Data Manipulation Language(DML) ของ Quey Language เพื่อเรียกใช้ข้อมูล
               4.2 กลุ่มผู้ใช้ (End User) ได้แก่ ผู้ที่นาข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งาน โดย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
                       1. Naive User ได้แก่ ผู้ใช้ที่เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยอาศัยโปแกรมที่พัฒนาขึ้น
                      2. Sophisticated User ได้แก่ ผู้ใช้ที่เรียกใช้ข้อมูลด้วยประโยค เพื่อเรียกใช้ ข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยตรง
                4.3 ผู้จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator: DBMS) ได้แก่ ผู้บริหารที่ทาหน้าที่ควบคุมและตัดสินใจเกี่ยวกับฐานข้อมูลทั้งหมด เช่น การกาหนดโครงสร้างของฐานข้อมูล วิธีการจัดเก็บข้อมูล ความปลอดภัยของข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น

        2.9.3 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
        เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าเป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อจัดการและควบคุมความถูกต้อง ความซ้าซ้อน และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภายในฐานข้อมูล ซึ่งต่างจากระบบฐานข้อมูล หน้าที่เหล่านี้จะเป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ในการติดต่อกับฐานข้อมูลในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะด้วยการใช้คาสั่ง DML หรือ DDL หรือจะด้วยโปรแกรมต่าง ๆ ทุกคาสั่งที่ใช้กระทากับข้อมูลจะถูกโปรแกรม DBMS นามาแปล (Compile) เป็นการกระทา (Operation) ต่างๆ ภายใต้คาสั่งนั้น เพื่อนาไปกระทาตัวข้อมูลในฐานข้อมูลต่อไป สาหรับส่วนการทางานต่าง ๆ ภายในโปรแกรม DBMS ที่ทาหน้าที่ในการแปลคาสั่งไปเป็นการกระทาต่างๆ ที่จะกระทากับข้อมูลประกอบด้วยส่วนการทางานต่างๆ ดังนี้
               2.9.3.1Database Manage เป็นส่วนที่ทาหน้าที่กาหนดการกระทาต่างๆ ให้กับส่วน File Manage เพื่อไปกระทากับข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูล (File Manager) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่บริหารและจัดการกับข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูลในระดับกายภาพ)
               2.9.3.2 Quay Processor เป็นส่วนที่ทาหน้าที่แปล (Compile) ประโยคคาสั่งของ Query Language ให้อยู่ในรูปแบบของคาสั่งที่ Database Manager เข้าใจ
               2.9.3.3 Data Manipulation Language Precompiled เป็นส่วนที่ทาหน้าที่แปล (Compile) ประโยคคาสั่งของกลุ่มคาสั่ง DML ให้อยู่ในรูปแบบที่ส่วน Application Programs Object
Code จะนาไปเข้ารหัสเพื่อส่งต่อไปยังส่วน Database Manager ในการแปลประโยคคาสั่งของกลุ่มคาสั่ง DML ของส่วน Data Manipulation Language Precompiled นี้จะต้องทางานร่วมกับส่วน Query Processor
               2.9.3.4 Data Definition Language Precompiled เป็นส่วนที่ทาหน้าที่แปล (Compile) ประโยคคาสั่งของกลุ่มคาสั่ง DDL ให้อยู่ในรูปแบบของ Data Dictionary ของฐานข้อมูล (Metadata) ได้แก่ รายละเอียดที่บอกถึงโครงสร้างต่างๆ ของข้อมูล
               2.9.3.5 Application Programs Object Code เป็นส่วนที่ทาหน้าที่แปลงคาสั่งต่างๆ เป็นโปรแกรม รวมทั้งคาสั่งในกลุ่มคาสั่ง DML ที่ส่งต่อมาจาก Data Definition Language Precompiled ให้อยู่ในรูปของ Object Code ที่จะส่งต่อไปให้ Database Manager เพื่อกระทากับข้อมูลในฐานข้อมูล

        2.9.4  หน้าที่ของ DBMS
        1. ทาหน้าที่แปลงคาสั่งที่ใช้จัดการกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่ ฐานข้อมูลเข้าใจ
        2. ทาหน้าที่ในการนาคาสั่งต่างๆ ซึ่งได้รับการแปลแล้ว ไปสั่งให้ฐานข้อมูลทางาน เช่น การเรียกใช้ข้อมูล (Retrieve) การจัดเก็บข้อมูล (Update) การลบข้อมูล (Delete) การเพิ่มข้อมูล (Add) เป็นต้น
        3. ทาหน้าที่ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล โดยจะคอยตรวจสอบว่าคาสั่งใดที่สามารถทางานได้ และคาสั่งใดที่ไม่สามารถทางานได้
        4. ทาหน้าที่รักษาความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้มีความถูกต้องอยู่เสมอ ทาหน้าที่เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลไว้ใน Data Dictionary ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า “ข้อมูลของข้อมูล (Metadata)”
        5. ทาหน้าที่เก็บรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลไว้ใน Data Dictionary ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้จึงมักจะถูกเรียกว่า “ข้อมูลของข้อมูล (Metadata)”
        6. ทาหน้าที่ควบคุมให้ฐานข้อมูลทางานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 25

        2.9.5 ประโยชน์ของฐานข้อมูล
        การจัดนาข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันมาใช้ร่วมกันเป็นฐานข้อมูลนั้น จะก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
               1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูล (Data Rcdundancy) โดยไม่จาเป็นต้องจัดเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนกันไว้ในระบบแฟ้มข้อมูลของแต่ละหน่วยงานเหมือนเช่นเดิม แต่สามารถนาข้อมูลใช้ร่วมกันในคุณลักษณะ Integrated แทน
               2. สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล (Data Inconsistency) เนื่องจากไม่ต้องจัดเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนในหลายแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลในแต่ละชุดจะก่อให้เกิดค่าที่แตกต่างกันได้
               3. แต่ละหน่วยงานในองค์กรสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
               4. สามารถกาหนดให้ข้อมูลมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันได้ เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลชุดเดียวกันสามารถเข้าใจและสื่อสารถึงความหมายเดียวกันได้
               5. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยให้กับข้อมูลได้ โดยกาหนดระดับความสามารถในการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน ให้แตกต่างกันตามความรับผิดชอบ
               6. สามารถรักษาความถูกต้องของข้อมูลได้ โดยระบุกฎเกณฑ์ในการควบคุมการผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการป้อนข้อมูล
               7. สามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้ข้อมูลในหลายรูปแบบ
               8. ทาให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมที่ใช้งานข้อมูลนั้น (Data Independence) ซึ่งส่งผลให้ผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถแก้ไขโครงสร้างของข้อมูล โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่เรียกใช้งานข้อมูลนั้น เช่น ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนขนาดของฟิลด์ สาหรับระบบแฟ้มข้อมูลจะกระทาได้ยากเนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงตัวโปรแกรมที่อ้างถึงฟิลด์นั้นทั้งหมด ซึ่งหากจากการใช้ระบบฐานข้อมูลที่การอ้างถึงข้อมูลจะไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลจึงไม่ส่งผลให้ต้องแก้ไขโปรแกรมที่เรียกใช้ ข้อมูลนั้นมากนัก

                    2.9.6 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพแสดงการทำงานของระบบ
Flowchart หรือผังงานโครงสร้าง คือ เครื่องมือที่ใช้แสดงขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) ของระบบงานใดๆในงานคอมพิวเตอร์มีหลายอย่างและเครื่องมือที่นิยมใช้กันมากก็คือ ผังงานโครงสร้าง (Structured Flowchart) และคำสั่งเทียม (Pseudo Code) ซึ่งเครื่องมือที่ใช้เหล่านี้ผู้พัฒนาระบบงาน สามารถนำไปแปลงเป็นชุดคำสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์ (Syntax) ของภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดๆก็ได้เพื่อพัฒนาระบบงานขึ้นมา
ผังงานโครงสร้าง (Structured Flowchart) จะเป็นเครื่องมือ (Tools) ที่ใช้อธิบายรายละเอียดการทำงานตามขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) โดยใช้สัญลักษณ์ (Symbol) แทนคำสั่ง ใช้ข้อความ(Statement)ในสัญลักษณ์แทนตัวแปรและตัวดาเนินการทางการคำนวณและการเปรียบเทียบ อีกทั้งยังแสดงความสัมพันธ์ของการทำงานต่างๆอย่างเป็นลำดับขั้นตอนโดยสามารถแบ่งลักษณะของความสัมพันธ์เป็นรูปแบบต่างๆได้แก่ การทำงานแบบมีลำดับ การทำงานแบบให้เลือกทำและการทำงานแบบทำซ้ำในเงื่อนไขต่างๆโดยที่สามารถสรุปรายละเอียดของสัญลักษณ์ที่สำคัญและที่นิยมใช้งานบ่อยๆได้ดังนี้ 
        ตารางที่ 2-2 แสดงสัญลักษณ์ในการเขียน Flowchart


Use Case Diagram หรือแผนผังกรณี เป็นแผนภาพที่มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายเรื่องราว หรือกระบวนการดำเนินงานของระบบภายใน Problem Domain ที่เราสนใจ ว่ามีกิจกรรมการดำเนินงานภายในระบบอะไรบ้าง และมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งานหรือสิ่งเกี่ยวข้องภายนอก อะไรบ้าง เช่น ระบบการขายตั๋วภาพยนตร์มีความเกี่ยวข้องกับลูกค้า และพนักงาน โดยพนักงานทำหน้าที่ให้บริการขายตั๋วกับลูกค้า เป็นต้น


ภาพที่ 2-2 แผนภาพยูสเคสไดอะแกรม
องค์ประกอบของยูสเคสไดอะแกรม
1. Use Case เป็นสัญลักษณ์แทนขั้นตอนหรือกิจกรรมการทำงานต่าง ๆ

ภาพที่ 2-3 สัญลักษณ์ Use Case Diagram
2. Actor เป็นสิ่งที่อยู่ภายนอกขอบเขตของระบบ แต่มีอิทธิพลต่อระบบ อาจหมายถึงคนหน่วยงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือผู้ที่อยู่ในองค์กรก็ได้

ภาพที่ 2-4 สัญลักษณ์ Actor

          3. เส้นเชื่อมความสัมพันธ์ เป็นเส้นตรงที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง Actor กับ Use Case มี แบบ คือ
                   3.1 Association เป็นเส้นตรงแสดงความสัมพันธ์แบบเกี่ยวข้องกัน มี แบบ คือ แบบมีหัวลูกศรและแบบไม่มีหัวลูกศร

ภาพที่ 2-5 เส้นตรง Association แบบมีหัวลูกศร

ภาพที่ 2-6 เส้นตรง Association แบบไม่มีหัวลูกศร
                   3.2 Generalization แสดงความสัมพันธ์เชิงจำแนกแยกแยะประเภท

ภาพที่ 2-7 แสดงความสัมพันธ์ของยูสเคสแบบ Generalization
                   3.3 Include เป็นกิจกรรมเสริมที่จำเป็นต่อการทำงนของกิจกรรมหลัก

ภาพที่ 2-8 แสดงความสัมพันธ์ของยูสเคสแบบ Include Use Case





3.4 Extend เป็นเส้นที่แสดงกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นบางกรณี เช่น ในการคืนหนังสือบางครั้งอาจเกิดการคำนวณค่าปรับ เป็นต้น
ภาพที่ 2-9 แสดงความสัมพันธ์ของยูสเคสแบบ Extend Use Case
                   3.5 Realization คือเส้นที่แสดงความจำเพาะเจาะจงของกิจกรรม เช่น การรับรายการสั่งซื้อสินค้า จะรับรายการทางโทรศัพท์เท่านั้น




ภาพที่ 2-10 แสดงความสัมพันธ์ของยูสเคสแบบ Realization
คำอธิบายยูเคสไดอะแกรม (Use Case Documentation)
          คือ การเขียนอธิบายการทำงานในแต่ละ Use Case อย่างละเอียด เพื่อให้เป็นตัวกลางในการสื่อสารกันระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบกับผู้พัฒนาโปรแกรม
-                   Use Case ID คือ หมายเลขลำดับของกิจกรรม
-                   Use Case Name คือ ชื่อของยูสเคส
-                   Actor คือ ชื่อของผู้แสดง ที่มีความสัมพันธ์ในยูสเคสที่ถูกอธิบาย

-                   Level  คือ ประเภทของยูสเคส มี ประเภท คือ Base Use Case, Include Use Case,
Extend Use Case
-                   Per Conditions คือ เงื่อนไขหรือสิ่งที่จะต้องทำก่อนที่จะเกิดยูสเคส
-                   Post Conditions คือ สิ่งที่เกิดขึ้น หลังจากทำยูสเคสเสร็จสิ้นแล้ว
-                   Main Flows คือ ขั้นตอนการทำงานของยูสเคส
-                   Alternate Condition คือ เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ แล้วส่งผลให้ Use Case นี้ไม่สามารถดำเนิน
กิจกรรมต่อไปได้
ตารางที่ 2-3 ตัวอย่าง Use Case Documentation

Class Diagram หรือ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของคลาส
          เป็นแผนภาพที่ใช้แสดงคลาส และความสัมพันธ์ระหว่างคลาสในแง่ต่าง ๆ ส่วนประกอบภายในคลาสประกอบด้วย ชื่อคลาสแอตทริบิวต์ (Attributes) และเมทธอด (Methods)




ภาพที่ 2-11 แสดงสัญลักษณ์ของคลาส


รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างคลาสมี รูปแบบ ดังนี้
1.ความสัมพันธ์แบบ  Generlization

ภาพที่ 2-13 แสดงความสัมพันธ์ของคลาสแบบ Generalization
2. ความสัมพันธ์แบบ Aggregation
ภาพที่ 2-14 แสดงความสัมพันธ์ของคลาสแบบ Aggregation
3.ความสัมพันธ์แบบ Composition



ภาพที่ 2-15 แสดงความสัมพันธ์ของคลาสแบบ Composition

4.ความสัมพันธ์แบบ Association





ภาพที่ 2-16 แสดงความสัมพันธ์ของคลาสแบบ Association
Sequence Diagram หรือ ซีเควนไดอะแกรม
          เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างอ๊อบเจ็คของคลาสที่อยู่ในคลาสไดอะแกรม โดยเน้นการส่งข่าวสาร (Massage) ระหว่างอ๊อบเจ็คตามลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบ

องค์ประกอบของซีเควนไดอะแกรม
1.       Actor คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบในแต่ละกิจกรรม
2.       Object คือ อ๊อบเจ็คที่ต้องตอบสนองต่อ Actor ในแต่ละกิจกรรม
3.       Lifeline คือ เส้นแสดงชีวิตหรืออายุขัยของแต่ละอ๊อบเจ็ค
4.       Activation คือ การทำงานต่าง ๆ ที่อ๊อบเจ็คต้องการกระทำ
5.       Message คือ ข่าวสารหรือคำสั่งที่อ๊อบเจ็คหนึ่งส่งไปให้อีกอ๊อบเจ็คหนึ่งกระทำการบางอย่างตามที่ได้รับ Message ซึ่งอาจจะมีการส่ง Message กลับหรือไม่ก็ได้

ภาพที่ 2-17 ภาพซีเควนไดอะแกรม
Message ที่ใช้ในซีเควนไดอะแกรมมี ประเภทดังนี้
1.       Call Message เป็น Message ที่อ๊อบเจ็คผู้ส่งเรียกใช้เมทธอดของอ๊อบเจ็คผู้รับ ใช้สัญลักษณ์
เส้นตรงมีหัวลูกศร
2.       Return Message เป็น Message ที่ใช้ส่งข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่ถูกร้องขอจากอ๊อบเจ็คผู้รับกลับไป
ยังอ๊อบเจ็คผู้ส่ง ใช้สัญลักษณ์เส้นประมีหัวลูกศร
3.       Send Message เป็นการส่งสัญญาณเพื่อบอกหรือกระตุ้นอ๊อบเจ็คอื่น แต่ไม่ใช่การเรียกใช้
เหมือน Call Message ใช้สัญลักษณ์เป็นเส้นตรงมีหัวลูกศร
4.       Create Message เป็น Message ที่ส่งออกไปโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดการสร้างอ๊อบเจ็คใหม่
ให้กับคลาสที่เป็นผู้รับ Message ใช้สัญลักษณ์เป็นเส้นประมีหัวลูกศร มีคำว่า <<create>> กำกับบนเส้น

5.       Destrory Message เป็น Message ที่ส่งออกไปโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้อ๊อบเจ็คที่ได้รับ Message
ที่ส่งไปโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้อ๊อบเจ็คที่ได้รับ Message นี้ทำลายตัวเอง ใช้สัญลักษณ์เป็นเส้นตรงมีหัวลูกศร มีคำว่า <<Destrory>> กำกับบนเส้น
6.       Self Message คือ Message ที่มีการประมวลผลหรือการคืนค่าที่ได้ภายในอ๊อบเจ็คการขาย
เป็นต้น ใช้สัญลักษณ์เป็นเส้นตรงหัวลูกศรย้อนกลับเข้าหาเส้น Lifeline ของตัวเอง

2.10 โปรแกรม Microsoft Visual Studio 2008
Microsoft Visual Studio 2008 และ Microsoft Visual Studio .NET และแตกต่างระหว่างการใหม่ Visual Studio 2008 และชนิดข้อมูลของ Visual Studio .NET และชนิดข้อมูลของ Microsoft Visual Basic 6.0 นอกจากนี้ บทความนี้อธิบายวิธีการใช้การวัตถุพิมพ์เพื่อให้การทำงานของการตัวแปรประเภทใน Visual Studio 2008 และ Visual Studio .NET รันไทม์ภาษาทั่วไปแสดงระดับชั้นพื้นฐานที่มีชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน คลาสที่ชุดเก็บรวบรวม และคลาสที่ทั่วไปอื่น ๆ ระบบชนิดทั่วไปเป็นการตั้งค่าพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการสนับสนุนภาษาหลาย ก่อนหน้านี้ แต่ละภาษาที่โปรแกรมแสดงชนิดของข้อมูลในลักษณะของตัวเอง ขณะนี้ ระบบชนิดทั่วไปแสดงทุกภาษา ใน Visual Studio 2008 และ Visual Studio .NET ด้วยชุดของชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน ทุกชนิดข้อมูลที่ได้รับมาจากการ System.Object คลาสที่ นอกจากนี้ ทุกชนิดข้อมูลที่สนับสนุนการตั้งค่าที่น้อยที่สุดวิธี เนื่องจากภาษาทั้งหมดในไลบรารีเดียวกันของชนิดที่ใช้ คุณสามารถเรียกภาษาหนึ่งจากอีกโดยไม่ต้องแปลงชนิดหรือแบบแผนการคิดโทร
นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมการทำ.NET ถูกออกแบบเพื่อให้ปลอดภัย และการรักษาความปลอดภัย สภาพแวดล้อมการทำ.NET enforces กฎที่เข้มงวดเพื่อรับประกันความปลอดภัยของชนิด ข้อมูลจำเพาะเกี่ยวกับภาษาทั่วไปกำหนดชุดของกฎ verifiable โดยทางโปรแกรม กฎเหล่านี้ควบคุม interoperation ของชนิดที่เขียนในภาษาต่าง ๆ ที่เขียนโปรแกรม กฎเหล่านี้จะสร้างข้อกำหนด
สำหรับความสอดคล้องของข้อมูลจำเพาะเกี่ยวกับภาษาทั่วไป ภาษา visual Studio 2008 และ Visual
Studio .NET เช่น Microsoft Visual Basic 2008, Microsoft Visual Basic .NET, Microsoft Visual c#
2005 และ Microsoft Visual c# .NET ที่สอดคล้องกับข้อมูลจำเพาะเกี่ยวกับภาษาทั่วไป
Visual Studio 2008 นี้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้งาน ที่ใช้ตั้งแต่ผู้ใช้ระดับต้น เพื่อใช้สร้างโปรแกรมง่าย ๆ บน windows หรือโปรแกรมเมอร์ระดับกลางที่จะเรียกใช้ฟังก์ชันการทางานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ในระดับมืออาชีพ ที่จะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง โดยการใช้ Object Linking and Embedding (OLE) and Application Interface (API) of Windows มาประกอบในการเขียนโปรแกรม Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่งที่อาศัยแนวความคิดของ Object . Oriented Programming (OOP) ซึ่งแตกต่างจากการเขียนโปรแกรมในแบบเดิม ที่จะเป็นลักษณะของ Procedural . Oriented กล่าวคือ จะพยายามแบ่งโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ให้เป็นโปรแกรมย่อมหลาย ๆ โปรแกรม (ตามแนวคิดของ Top . Down Design) แต่สาหรับ Oriented Programming แล้ว แนวคิดได้เปลี่ยนไปให้ความสนใจกับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในโปรแกรม ซึ่งเรียกว่า “Object” แทน
Object ใน Visual Studio 2008 ได้แก่ ส่วนของ Control ต่าง ๆ ใน Toolbox ที่นามาวาดมาบน Form ซึ่งจะมีคุณสมบัติบางอย่างเช่นเดียวกับ Object ใน OOP กล่าวคือแต่ละ Object จะต้องประกอบไปด้วย
1. Data เปรียบเสมือนข้อมูลของ Object สาหรับใน Visual Basic คาว่า “Data” หมายถึง คุณสมบัติ (Property) ประจาตัวของแต่ละ Object เช่น ชื่อ ความยาว ความสูง เป็นต้น

2. Code เปรียบเสมือนกับพฤติกรรมของ Object สาหรับใน Visual Basic คาว่า “Code” หมายถึง Method ประจาตัวละ Object เช่น Method “move first” of Object ชื่อ “Data Control” ที่ใช้สาหรับเลื่อนตัวชี้ (Pointer) ไปยัง Record แรกของข้อมูล เป็นต้น (http://www.microsoft.com/thailand/visualstudio/product_pro.aspx, เว็บไซต์)

2.11โปรแกรม Microsoft SQL Server 2008
Microsoft SQL Server 2008 เป็นระบบการจัดการ  Database แบบ  Relational Database Management System มีชื่อย่อว่า RDMS สามารถทำการติดตั่งได้กบระบบปฎิบัติการ Window 95/98 ,Windows NT 4.0 และ Windows 2000 โดย SQL Serverนี้ออกแบบมาเพื่อให้ทำงานในลักษณะที่เป็น
 Client – Server Database และ แบบ Stand-Alone Database โดยทำการติดตั้งลงเครื่องที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 98/95 นอกเหนือจากความสามารถในด้านการจัดการทางด้านฐานข้อมูลแล้ว Microsoft SQL Serverยังมีภาษาเพื่อให้ดู แก้ไข ลบข้อมูล จาก Database  เรียกว่า Transact-SQL โดยยึดมาตรฐานทั่ง SQL 89 และ SQL 92 นอกจากนี้ Transact - SQL ยังมีคำสั่งที่ช่วยในการทำงานเพิ่มเติมจากส่วนที&เป็นมาตรฐานเพื่อช่วยให้การทำงานคล่องตัวมากขึ้นการที่SQL Server เป็นระบบ การจัดการ Database  แบบ
Client – Server Relational Database  ทำให้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และยังมีระบบ จัดการเป็นแบบควบคุม จากศูนย์กลาง (Centralized Management) ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบจัดสรรการทำงาน และใช้ข้อมูลจากหลาย ๆ งานพร้อมกนได้ สำหรับ SQL Serverประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ ดังนี้
2.11.1 Server เป็นเครื่องที่ติดตั้งโปรแกรมการทำงานของ SQL Server โดย SQL Serveทางฝั่งที่
ทำหน้าที่จัดเก็บรวบรวม ค้นหา เรียงลำดับ เรียกดู และจัดการกบข้อมูล นอกจากที& SQL Server เป็น
Client-Server Relational Database ส่วนที่เป็นระบบจัดการ Database และไฟล์ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ   
Database ทั้งหมดก็ถูกเก็บอยู่บนเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ด้วย
2.11.2 Client เป็นเครื่องที่ติดตังโปรแกรมใช้งานที&พัฒนาด้วยภาษาต่าง ๆเช่น Visual Basic,
Delphi และเชื่อมต่อกบ SQL Server ทางฝั่งเซิร์ฟเวอร์ได้ทั้งนี้เครื่องที่เป็น Client อาจเป็น แพลทฟอร์ม (Phatform) ใดก็ได้โปรแกรมทางฝั่งเครื่องไคลเอนท์นีจะทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูลจากเครื่องแม่ การเชื่อมโยงตารางโดยใช้คำสั่ง INNER JOIN
          ใน SQL Server 2008 การบริหารไมโครซอฟท์ได้รับการรับรองเครื่องหมายเทรนเนอร์ยาวช่วยให้คุณเข้าใจการติดตั้งและการบริหารงานของไมโครซอฟ SQL Server 2008 SQL Server 2008 ให้กับวิสัยทัศน์แพลตฟอร์มไมโครซอฟท์ข้อมูลโดยการช่วยให้องค์กรของคุณจัดการข้อมูลใด ๆ สถานที่ใดเวลาใด SQL Server 2008 ให้ชุดสมบูรณ์ของการบริการแบบบูรณาการที่ช่วยให้คุณสามารถทำขึ้นกับข้อมูลของคุณเช่นคำค้นหาที่ตรงกันรายงานและวิเคราะห์ มันเป็นส่วนแบ่งการตลาดที่ใหญ่ที่สุดสามฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ในโลก SQL Server 2008 จะช่วยลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดการและการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ในขณะที่ให้ครอบคลุมแพลตฟอร์มที่ให้ปัญญาที่ผู้ใช้ของคุณต้องการมัน
2.12 โปรแกรม Crystal Reports  2008
 โปรแกรม Crystal Reports เป็นโปรแกรมสำหรับเสนอรายการต่างๆ ที่เกิดจากฐานข้อมูลหรือจะเป็นหน้ารายงานธรรมดา เช่นเดียวกับโปรแกรม Word เพื่อแสดงในหน้าจอหรือแสดงในหน้ากระดาษเดิมที่โปรแกรม Crystal Reports เป็นเครื่องมือหนึ่งที่อยู่ในโปรแกรมพัฒนา Visual Basic ตั้งแต่รุ่นที่ 3ซึ่งต่อมา เมื่อมาถึง Visual Basic 5 บริษัท Seagate Software ที่เป็นบริษัทสร้างฮาร์ดดิสก์ที่เรารู้จักกันดี ได้เป็นผู้พัฒนารูปแบบการทำงานของCrystal Reports จะเริ่มจากโปรแกรม Crystal Reports Designer ที่เป็นโปรแกรมหลัดสำหรับสร้างรายงาน โดยจะมีเครื่องต่างๆหรือโปรแกรมที่เราออกแบบเอง เมื่อเราสร้างรายงานได้แล้วเราจะแสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ของเราได้ หรือพิมพ์เป็นรายงาออกทางเครื่องพิมพ์ก็ได้ หากเราต้องการบันทึกก็สามารถบันทึกลงในไฟล์ที่มีนามสกุล .rpt หากเราต้องการพิมพ์รายานอีก ก็สามารถนำไฟล์นี้ขึ้นมาใช้งานได้ นอกจากนี้ ยังมีเครื่องมือ Crystal Reports Component ที่ใช้สำหรับนำไฟล์นามสกุล .rpt ที่สร้างจากโปรแกรม Crystal reports Designer มาแสดงรายงานด้วยการเขียนโปรแกรม Visual Basic ได้อีกด้วย ถ้าเราต้องการสร้างรายงานที่ติดต่อฐานข้อมูลบ้าง เราจะต้องมาเลือกรายการ Using Reports Expert ดังเช่นการสร้างรายงานที่เราจะสร้าง แต่สำหรับในรายงานว่างเปล่าที่เราจะสร้างนี้เราต้องเลือกรายการ As a blank Reports แล้วให้คลิกปุ่ม OK โดยส่วนประกอบของหน้ารายงานมีดังต่อไปนี้
1. Report Header
จากบริเวณพื้นที่สีขาวนี้ ส่วนที่อยู่ด้านบนสุดเป็นส่วนของ Report Header ซึ่งเป็นส่วนแรกของรายงานและจะแสดงเพียงหนึ่งครั้งเท่านั้นในรายงานหนึ่งๆ ตามปกติแล้วมักจะใช้ Report Header สำหรับทำเป็นหน้าปกแรกของรายงาน หรือเป็นหัวข้อหลักของรายงานชุดนี้
2. Page Header
บริเวณถัดลงมาเป็นส่วนของ Page Header ที่ทำหน้าที่อยู่ด้านลบนของทุกหน้ารายงาน ยกเว้นแต่หน้าที่เป็น Report Header ซึ่งตามปกติแล้วเราจะเห็น Page Header ที่หน้ารายานเสมอ เช่น ส่วนที่แสดงเลขที่หน้า หรือแสดงหัวข้อรายงาน
3. Details
ถัดมาเป็นส่วนของ Details ซึ่งเป็นส่วนสำคัญสำหรับแสดงรายงาน ถ้าหากมีรายงานมากหรือมีข้อมูลมาก ก็จะแปแสดงหลายๆหน้า และเมื่อการแสดงรายงานในแต่ละหน้าแล้ว จะนำส่วนของ Page Footer มาแสดงที่ด้านล่างของรายงานทุกๆหน้า


4. Report Footer
ต่อจาก Details ก็เป็น Report Footer ซึ่งเป็นส่วนที่ทำงานเพียงครั้งเดียวเท่านั้น โดยจะแสดงที่ส่วนท้ายของ Detail ดังนั้น การแสดง Report Footer จึงไม่จำเป็นต้องแสดงที่ตอนล่างเหมือนอย่าง Page Footer คือสิ้นสุดรายงานที่ตรงไหนก็แสดงที่ตรงนั้น สิ้นสุดตรงกลางหน้ากระดาษ ก็แสดงที่ตรงกลางหน้ากระดาษ ดังนั้น จึงมักนำมาใช้แสดงยอดรวมของรายงานเสมอ
5. Page Footer
เป็นรายงานส่วนสุดท้ายที่แสดงที่ด้านล่างของรายงานที่เกิดจาก Detail และแสดงทุกหน้าที่เป็นรายงาน เรามักพบเห็นในรายงานหรือในหนังสือทั่วๆไปซึ่งคือเลขหน้านั่นเอง
2.13  วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
        ศิริวุฒิ สิงห์คา ,ปัทมา ดงเจริญ(2554) โครงงานเรื่อง “ ระบบบริหารจัดการห้องสมุด โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) กรณีศึกษา ห้องสมุดโรงเรียนบรบือวิทยาคาร” วัตถุประสงค์ของโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจฉบับนี้ เป็นการวิเคราะห์ออกแบบระบบบริหารงจัดการห้องสมุด โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) กรณีศึกษาห้องสมุดโรงเรียนบรบือวิทยาคาร ซึ่งมีรูปแบบการทางานเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการยืม-คืนหนังสือการเพิ่มหนังสือและการเรียกดูข้อมูลการออกรายงายต่างๆ ทาให้การทางานประสานกันได้อย่างสัมพันธ์จากความสาเร็จในการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีRFID ทาให้สามารถยืม-คืนหนังสือในห้องสมุดได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับการศึกษาในครั้งนี้ใช้โปรแกรม Microsoft Visual Basic.Net ร่วมกับ Microsoft SQL Server 2005 ในด้านการจัดการฐานข้อมูล ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนงานด้านฐานข้อมูล มุ่งเน้นความรวดเร็วของการประมวลผล การจัดการรายงาน พร้อมทั้งสามารถกาหนดลักษณะ ได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก
        ภัทรพล  อาทาธรณ์,สุนันทา  ทรงกลด (2554) โครงงานเรื่อง ”ระบบบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านหนองสวง ต.หนองครก อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ”กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองสวง หนองม่วง ตำบลหนองครก อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ผู้บริหารสถานศึกษาโดย นางรักชนก  ภูมิสถาน เนื่องจากในสภาวะปัจจุบัน การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความล่าช้าและไม่มีความเป็นระบบระเบียบในการทำงาน และที่สำคัญยังก่อเกิดปัญหาในการใช้ข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในปัจจุบันยังใช้ระบบงานที่เป็นการจดบันทึก ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดจากทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังไม่มีความทันสมัยในการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้เกี่ยวกับงานภายในองค์กร ทำให้เกิดความผิดพลาดได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น